วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ประวัติการพิมพ์ของโลก


ประวัติการพิมพ์ของโลก
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปรากฎอยู่บนผนังถ้ำลาสควักซ์ (Lascaux) ในฝรั่งเศส และถ้ำอัลตามิรา (Altamira) ในสเปน นอกจากปรากฎผลงานด้านจิตรกรรมที่มีคุณค่าด้านความงามของมนุษยชาติ ในช่วงประมาณ 17,000 - 12,000 ปีที่ผ่านมาแล้ว ยังปรากฎผลงานแกะสลักหิน แกะสลักผนังถ้ำเป็นรูปสัตว์ลายเส้นซึ่งการแกะสลักภาพลายเส้นบนผนังถ้ำนั้น อาจนับได้ว่าเป็นพยานหลักฐานในการแกะแบบพิมพ์ของมนุษย์เป็นครั้งแรกก็ได้
นอกจากนั้น ยังปรากฎการเริ่มต้นพิมพ์ภาพผ่านฉากพิมพ์ (Stensil) อีกด้วย โดยวิธีการใช้มือวางทาบลงบนผนังถ้ำ แล้วพ่นหรือเป่าสีลงบนฝ่ามือ ส่วนที่เป็นมือจะบังสีไว้ ให้ปรากฎเป็นภาพแบน ๆ แสดงขอบนอกอย่างชัดเจน ซึ่งนับว่าเป็นการพิมพ์อย่างง่าย ๆ วิธีหนึ่ง
ในสมัยอารยธรรมประวัติศาสตร์ยุคแรก ๆ กลุ่มประเทศเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) ได้รู้จักการใช้ของแข็งกดลงบนดินทำให้เกิดเป็นลวดลายตัวอักษร เรียกว่า อักษรลิ่ม (Cuneiform) ซึ่งมีอายุประมาณ 5,000 ปีก่อนคริสต์กาล
ประมาณ 255 ปีก่อนคริสต์กาล ในภูมิภาคแถบเอเชียตอนกลางและจีน ได้รู้จักการแกะสลักดวงตราบนแผ่นหิน กระดูกสัตว์และงาช้าง เพื่อใช้ประทับลงบนดินเหนียว บนขี้ผึ้งซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เป็นต้นตอของแม่พิมพ์ Letter Press โดยจะเห็นได้จากพงศาวดารจีนโบราณองค์จักรพรรดิจะมีตราหยกเป็นตราประจำแผ่นดิน
ค.ศ.105 ชาวจีนชื่อ ไซลั่น คิดวิธีทำกระดาษขึ้นมาได้ และได้กลายเป็นวัสดุสำคัญเท่ากับการเขียนและการพิมพ์ในเวลาต่อมา
ค.ศ.175 ได้มีการใช้เทคนิคพิมพ์ถู (Rubbing) ขึ้นในประเทศจีน โดยมีการแกะสลักวิชาความรู้ไว้บนแผ่นหิน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจได้นำกระดาษมาวางทาบบนแผ่นหินแล้วใช้ถ่านหรือสีทาลงบนกระกาษ สีก็ติดบนกระดาษส่วนที่หินนูนขึ้นมา เทคนิคนี้ดูจะเหมือนกับการถู ลอกภาพรามเกียรติ์ที่แกะสลักบนแผ่นหินอ่อนที่วัดโพธิ์ในทุกวันนี้
ค.ศ.400 ชาวจีนรู้จักการทำหมึกแท่งขึ้น โดยใช้เขม่าไฟเป็นเนื้อสี (Pigment) ผสมกาวเคี่ยวจากกระดูกสัตว์ หนังสัตว์และเขาสัตว์เป็นตัวยึด (Binder) แล้วทำให้แข็งเป็นแท่ง ชาวจีนเรียกว่า "บั๊ก"
ต่อมาราวปี ค.ศ.450 การพิมพ์ด้วยหมึกบนกระดาษจึงเกิดขึ้นโดยใช้ตราจุ่มหมึกแล้วตีลงบนกระดาษเช่นเดียวกับการประทับตรายางในปัจจุบัน สำหรับชิ้นงานพิมพ์ซึ่งเก่าแก่ที่สุดและยังคงหลงเหลืออยู่ได้แก่การพิมพ์โดยจักรพรรดินีโชโตกุ (Shotodu) แห่งประเทศญี่ปุ่น ในราว ค.ศ.770 โดยพระองค์รับสั่งให้จัดพิมพ์คำสวดปัดรังควานขับไล่วิญญาณหรือผีร้ายให้พ้นจากประเทศญี่ปุ่น และแจกจ่ายไปตามวัดทั่วอาณาจักรญี่ปุ่นเป็นจำนวนหนึ่งล้านแผ่นซึ่งต้องใช้เวลาตีพิมพ์เป็นเวลาถึง 6 ปี
จีนนิยมใช้เทคนิคการพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์แกะไม้ และพัฒนาขึ้นตามลำดับ ในปี ค.ศ.868 ได้มีการพิมพ์เป็นหนังสือพิมพ์เล่มแรกมีลักษณะเป็นม้วน มีความยาว 17.5 ฟุต กว้าง 10.5 นิ้ว โดยวาง เซียะ (Wang Chieh) ซึ่งยังคงตกทอดมาจนถึงปัจจุบันหนังสือเล่มนี้มีชื่อว่า วัชรสูตร (Diamond Sutra)
ประมาณปี ค.ศ.1041 - 1049 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์นูนได้เปลี่ยนแปลงวิธีการเดิมที่ใช้การแกะไม้เป็นแม่พิมพ์ (เรียกว่า Block) แม่พิมพ์ดังกล่าวสามารถพิมพ์ได้เพียงรูปแบบเดียวมาเป็นการใช้แม่พิมพ์ชนิดที่หล่อขึ้นเป็นตัว ๆ และนำมาเรียงให้เป็นคำเป็นประโยค ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า "ตัวเรียงพิมพ์ (Movable type) เมื่อพิมพ์เสร็จแล้ว จะสามารถนำกลับไปเก็บและสามารถนำมาผสมคำใหม่ในการพิมพ์ครั้งต่อ ๆ ไปได้ ผู้ที่ค้นพบวิธีการใหม่นี้เป็นชาวจีนชื่อ ไป เช็ง (Pi Sheng) โดยใช้ดินเหนียวปั้นให้แห้งแล้วนำไปเผาไฟ
การสร้างตัวเรียงพิมพ์โลหะ เริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศเกาหลีเมื่อประมาณปี ค.ศ.1241 ได้มีการหล่อตัวพิมพ์โลหะขึ้นเป็นจำนวนมากตามดำริของกษัตริย์ไทจง
การพิมพ์ของประเทศทางตะวันตก
ผู้ที่คิดค้นวิธีพิมพ์อย่างเป็นระบบเป็นคนแรกจนได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของการพิมพ์คือ โจฮัน กูเต็นเบิร์ก (Johann Gutenberg) เขาได้ประดิษฐ์แท่นพิมพ์ พัฒนาแม่แบบสำหรับหล่อตัวพิมพ์โลหะเป็นตัว ๆ สามารถที่จะเรียงเป็นคำ เป็นประโยคและเมื่อใช้พิมพ์ไปแล้วก็สามารถนำกลับมาเรียงใหม่ เพื่อใช้หมุนเวียนได้อีก ซึ่งเรียกว่าเป็นวิธี Movable ตลอดจนการค้นคิดวิธีการทำหมึกที่ได้ผลดีสำหรับใช้กับตัวเรียงโลหะ ผลงานอันมีชื่อเสียงของกูเต็นเบิร์กคือ คัมภีร์ 42 บรรทัด (42-Lines Bible) เมื่อปี ค.ศ.1455 นั่นเอง
ค.ศ.1495 Albrecht Durer ศิลปินแกะไม้ชาวเยอรมัน ซึ่งเคยเป็นจิตรกรช่างเขียนภาพได้คิดวิธีพิมพ์จากแม่พิมพ์ทองแดง (Copper plate engraving) โดยการใช้ของแหลมขูดขีดให้เป็นรูปรอยบนแผ่นทองแดง และใช้พิมพ์แบบกราวัวร์ (Gravure) เป็นครั้งแรกในเยอรมัน
ต่อมาในปี ค.ศ.1793 ชาวเยอรมันชื่อ Alois Senefilder ได้ค้นพบวิธีการพิมพ์หิน (Lithography) ซึ่งเป็นวิธีการพิมพ์แบบพื้นราบ (Planographic printing) ขึ้นเป็นครั้งแรก
ค.ศ.1904 Ira Washington Rubel ช่างพิมพ์ชาวอเมริกันได้สังเกตเห็นว่า ในการป้อนกระดาษเข้าพิมพ์โดยแท่น Cylinder press บางครั้งลืมป้อนกระดาษเข้าไป หมึกจะพิมพ์ติดบนลูกกลิ้งแรงกด และเมื่อป้อนกระดาษแผ่นถัดไปหมึกบนตัวพิมพ์จะติดบนกระดาษหน้าหนึ่ง แต่หมึกบนลูกกลิ้งจะติดกระดาษอีกหน้าหนึ่ง เมื่อสังเกตดูแล้วพบว่า หมึกที่ติดบนลูกกลิ้งก่อนที่จะติดบนกระดาษนั้นจะมีลักษณะสวยงามกว่าหมึกที่พิมพ์จากตัวพิมพ์ไปติดกระดาษโดยตรง จึงได้คิดวิธีพิมพ์ระบบ Off set printing ขึ้น
ค.ศ.1907 Samuel Simon แห่งเมือง Manchester ได้ปรับปรุงการพิมพ์ระบบ Silk screen และจดทะเบียนลิขสิทธิ์ที่ประเทศอังกฤษ

ประวัติการพิมพ์ของประเทศไทย

ประวัติการพิมพ์ของประเทศไทย
การพิมพ์ของไทยตามหลักฐานที่ค้นพบน่าจะเกิดขึ้นตั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ในช่วงรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แม้ว่าประเทศไทยจะอยู่ใกล้กับ ประเทศจีน ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของการพิมพ์ก่อนส่วนใด ๆ ของโลก แต่ประเทศไทยกลับได้รับอิทธิพลของการพิมพ์จากชาวยุโรป
ปี พ.ศ.2205 คณะมิชชันนารีคาทอลิกฝรั่งเศส ที่เข้ามาในประเทศไทย โดยมีบาทหลวงสังฆราชองค์หนึ่ง ชื่อหลุยส์ ลาโน (Louis Laneau) ได้แต่งและพิมพ์หนังสือเป็นภาษาไทย แต่ใช้พิมพ์ด้วยตัวอักษรโรมัน (โดยเขียนทับคำ เช่น คำว่า ในวัด จะพิมพ์เป็นภาษาโรมันว่า nai vat) หนังสือคำสอนทางคริสต์ศาสนาจำนวน 26 เล่ม หนังสือไวยกรณ์ไทยและบาลี 1 เล่ม และพจนานุกรมไทยอีก 1 เล่ม
ปี พ.ศ.2339 บาทหลวงคาทอลิก ชื่อการ์โนล์ (Garnault) ได้เข้ามาสอนศาสนาและตั้งโรงพิมพ์และพิมพ์หนังสือขึ้นที่ วัดซางตาครูส ตำบลกุฎีจีน จังหวัดธนบุรี หนังสือที่พิมพ์แล้วยังหลงเหลือมาถึงปัจจุบันคือ หนังสือคำสอนคริสตัง ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ หนังสือจัดพิมพ์เป็นคำอ่านภาษาไทยแต่ใช้ตัวอักษรโรมันเป็นตัวพิมพ์
ปี พ.ศ.2356 มิชชันนารีชาวอเมริกัน คู่หนึ่ง สามีเป็นบาทหลวง ชื่อศาสนาจารย์ แอดดอไนราม จัดสัน (Reverend Adoniram Judson) ภรรยาชื่อ นางแอน เฮเซนไทล์ จัดสัน (Ann Hazeltine Judson) สังกัดคณะ A.B.C.F.M. (American Board of Commissioners for Foreign Missions) ได้เดินทางมาเผยแผ่คริสต์ศาสนาในประเทศพม่า และได้ทำงาน ร่วมกับพวกมิชชันนารีคณะแบบติสต์ (Baptist) ภายหลังทั้งคู่ได้เปลี่ยนมาสังกัดกับพวกมิชชันนารีอเมริกันคณะแบบติสต์ นางจัดสันได้พบเชลยคนไทยและลูกหลานคนไทยที่ถูกกวาดต้อนมาเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 โดยนางจัดสันได้ศึกษาภาษาไทยและหนังสือภาษาไทยจนเข้าใจดีแล้วแปลคำสอนของสามีและพระคัมภีร์แมทธิวเป็นภาษาไทย พร้อมกับได้ออกแบบตัวพิมพ์อักษรไทยขึ้น
ปี พ.ศ. 2359 คณะแบบติสต์ได้ส่ง นายยอร์จ เอ็ช. ฮัฟ (George H. Hough) ให้นำแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ มาตั้งโรงพิมพ์แบปติสต์ในพม่า
ปี พ.ศ.2360 นายฮัฟได้ทำการพิมพ์หนังสือจากตัวพิมพ์ที่ออกแบบและหล่อขึ้นโดยนางจั๊ดสัน ซึ่งถือได้ว่าเป็นการพิมพ์ตัวหนังสือไทยจากตัวพิมพ์เป็นครั้งแรก การพิมพ์นี้พิมพ์ที่เมืองร่างกุ้ง ประเทศพม่า แต่จะเป็นหนังสืออะไรบ้างไม่มีหลักฐานเหลือมาจนถึงปัจจุบัน
ปี พ.ศ.2362 พม่าเกิดสถานการณ์สงครามคับขันกับอังกฤษ คณะแบปติสต์ได้มาอยู่ที่เมืองเซรัมโปร์ (Serampore) นครกัลกัตตา (Calcutta) ประเทศอินเดีย โดยได้นำตัวพิมพ์อักษรไทยไปด้วย
ปี พ.ศ.2371 ได้มีการจัดพิมพ์หนังสือเป็นตัวอักษรไทย ชื่อ ตำราไวยกรณ์ไทย (A Grammar of The Thai or Siamese Language) แต่งโดย กัปตันเจมส์โลว์ (Captain James Low) ซึ่งเป็นนายทหารอังกฤษ พิมพ์ที่ The Baptist Mission Press เมืองเซรัมโปร์ นครกัลกัตตา เรียบเรียงเป็นภาษาอังกฤษ อธิบายไวยกรณ์ไทยและมีตัวอย่างหน้าหนังสือไทยอยู่หลายหน้าที่เป็นหน้าตัวเขียนลายมืออักษรไทย พิมพ์ด้วยบล็อกโลหะก็มี พิมพ์ด้วยตัวเรียง พิมพ์ที่นางจั๊ดสันได้จัดหล่อขึ้นที่พม่าก็มี
ปี พ.ศ.2373 โรเบิร์ต เบิร์น มิชชันนารีคณะลอนดอน ได้ขอซื้อแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ภาษาไทยจากโรงพิมพ์คณะแบปติสต์ นครกัลกัลตา มาติดตั้งดำเนินการอยู่ที่สิงคโปร์ และได้รับงานตีพิมพ์คำสอนของพวกมิชชันนารีอเมริกันที่อยู่ในกรุงเทพฯเวลานั้นไปจ้างให้ พิมพ์ด้วย
ปี พ.ศ.2375 โรเบิร์ต เบิร์น ได้ถึงแก่กรรมลง โรงพิมพ์ดังกล่าวจึงได้ขายแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ภาษาไทยให้แก่มิชชันนารีคณะอเมริกันบอร์ด
ปี พ.ศ.2378 นายแพทย์แดน บีช บรัดเลย์ (Dr. Dan Beach Bradley) หรือหมอบรัดเลย์ และคนไทยมักเรียกว่าหมอปลัดเล เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกัน ได้รับมอบแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ภาษาไทยจากคณะอเมริกันบอร์ด โดยขนย้ายมาจากสิงคโปร์มายัง กรุงเทพฯ
ปี พ.ศ.2379 เริ่มติดตั้งแท่นพิมพ์และทดลองพิมพ์เป็นภาษาไทย โดยหมอบรัดเลย์ งานที่พิมพ์มีงานของศาสนาจารย์ชาลส์ โรบินสัน ซึ่งเป็นพวกคำสอนของศาสนา พระบัญญัติสิบประการ คำอธิบายสั้น ๆ และบทสรรเสริญ แต่ตัวอักษรยังไม่สวยงาม และตัวพิมพ์ที่นำมาจากสิงคโปร์ก็ได้สึกหรอเสียหายไปตามกาลเวลา หมอบรัดเลย์จึงได้คิดประดิษฐอักษรไทยขึ้นใหม่

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

HISTORY OF PRINTING

HISTORY OF PRINTING
http://www.historyworld.net/wrldhis/PlainTextHistories.asp?historyid=ab78
Engraved texts: 2nd - 8th century AD

The emperor of China commands, in AD 175, that the six main classics of Confucianism be carved in stone. His purpose is to preserve them for posterity in what is held to be authentic version of the text. But his enterprise has an unexpected result.

Confucian scholars are eager to own these important texts. Now, instead of having them expensively written out, they can make their own copies. Simply by laying sheets of paper on the engraved slabs and rubbing all over with charcoal or graphite, they can take away a text in white letters on a black ground - a technique more familiar in recent centuries in the form of brass-rubbing.

Subsequent emperors engrave other texts, until quite an extensive white-on-black library can be acquired. It is a natural next step to carve the letters in a raised form (and in mirror writing) and then to apply ink to the surface of the letters. When this ink is transferred to paper, the letters appear in black (or in a colour) against the white of the paper - much more pleasant to the eye than white on black.

This process is printing. But it is the Buddhists, rather than the Confucians, who make the breakthrough.


Printed Buddhist texts in Korea and Japan: AD 750-768

The invention of printing is a striking achievement of Buddhists in east Asia. Korea takes the lead. The world's earliest known printed document is a sutra printed on a single sheet of paper in Korea in AD 750.

This is closely followed in Japan by a bold experiment in mass circulation (precisely the area in which printed material has the advantage over manuscript). In AD 768, in devoutly Buddhist Nara, the empress commissions a huge edition of a lucky charm or prayer. It is said that the project takes six years to complete and that the number of copies printed, for distribution to pilgrims, is a million. Many have survived.

The first printed book: AD 868

The earliest known printed book is Chinese, from the end of the T'ang dynasty. Discovered in a cave at Dunhuang in 1899, it is a precisely dated document which brings the circumstances of its creation vividly to life.

It is a scroll, 16 feet long and a foot high, formed of sheets of paper glued together at their edges. The text is that of the Diamond Sutra, and the first sheet in the scroll has an added distinction. It is the world's first printed illustration, depicting an enthroned Buddha surrounded by holy attendants. In a tradition later familiar in religious art of the west, a small figure kneels and prays in the foreground. He is presumably the donor who has paid for this holy book.



Engraved texts: 2nd - 8th century AD

The emperor of China commands, in AD 175, that the six main classics of Confucianism be carved in stone. His purpose is to preserve them for posterity in what is held to be authentic version of the text. But his enterprise has an unexpected result.

Confucian scholars are eager to own these important texts. Now, instead of having them expensively written out, they can make their own copies. Simply by laying sheets of paper on the engraved slabs and rubbing all over with charcoal or graphite, they can take away a text in white letters on a black ground - a technique more familiar in recent centuries in the form of brass-rubbing.

Subsequent emperors engrave other texts, until quite an extensive white-on-black library can be acquired. It is a natural next step to carve the letters in a raised form (and in mirror writing) and then to apply ink to the surface of the letters. When this ink is transferred to paper, the letters appear in black (or in a colour) against the white of the paper - much more pleasant to the eye than white on black.

This process is printing. But it is the Buddhists, rather than the Confucians, who make the breakthrough.


Printed Buddhist texts in Korea and Japan: AD 750-768

The invention of printing is a striking achievement of Buddhists in east Asia. Korea takes the lead. The world's earliest known printed document is a sutra printed on a single sheet of paper in Korea in AD 750.

This is closely followed in Japan by a bold experiment in mass circulation (precisely the area in which printed material has the advantage over manuscript). In AD 768, in devoutly Buddhist Nara, the empress commissions a huge edition of a lucky charm or prayer. It is said that the project takes six years to complete and that the number of copies printed, for distribution to pilgrims, is a million. Many have survived.

The first printed book: AD 868

The earliest known printed book is Chinese, from the end of the T'ang dynasty. Discovered in a cave at Dunhuang in 1899, it is a precisely dated document which brings the circumstances of its creation vividly to life.

It is a scroll, 16 feet long and a foot high, formed of sheets of paper glued together at their edges. The text is that of the Diamond Sutra, and the first sheet in the scroll has an added distinction. It is the world's first printed illustration, depicting an enthroned Buddha surrounded by holy attendants. In a tradition later familiar in religious art of the west, a small figure kneels and prays in the foreground. He is presumably the donor who has paid for this holy book.

The name of the donor, Wang Chieh, is revealed in another device which later becomes traditional in early printed books in the west. The details of publication are given in a colophon (Greek for 'finishing stroke') at the end of the text. This reveals that the scroll is a work of Buddhist piety, combined with the filial obligations of good Confucian ideals: 'Printed on 11 May 868 by Wang Chieh, for free general distribution, in order in deep reverence to perpetuate the memory of his parents.'

The printing of Wang Chieh's scroll is of a high standard, so it must have had many predecessors. But the lucky accident of the cave at Dunhuang has given his parents a memorial more lasting than he could have imagined possible.

Cutting round the characters: 9th - 11th century

The separate sheets making up the Diamond Sutra are what would now be called woodcuts. They are printed from pieces of wood in which the white areas on the page have been carefully cut away, until the remaining parts of the flat surface represent (in reverse) the shapes to be printed, regardless of whether they are to be text or image.

Printing is achieved by covering the flat surface with ink, placing a piece of paper on it and rubbing the back of the paper.

Printing from wood blocks, as in the Diamond Sutra, is a laborious process. Yet the Chinese printers work wonders. In the 10th and 11th centuries all the Confucian classics are published for the use of scholar officials, together with huge numbers of Buddhist and Daoist works (amounting to around 5000 scrolls of each) and the complete Standard Histories since the time of Sima Qian.

The carving of so many characters in reverse on wood blocks is an enormous investment of labour, but the task is unavoidable until the introduction of movable type. This innovation, once again, seems to have been pioneered in China but achieved in Korea.

Movable type: from the 11th century

Movable type (separate ready-made characters or letters which can be arranged in the correct order for a particular text and then reused) is a necessary step before printing can become an efficient medium for disseminating information.

The concept is experimented with in China as early as the 11th century. But two considerations make the experiment unpractical. One is that the Chinese script has so many characters that type-casting and type-setting become too complex. The other is that the Chinese printers cast their characters in clay and then fire them as pottery, a substance too fragile for the purpose.

Type foundry in Korea: c.1380

In the late 14th century, several decades before the earliest printing in Europe, the Koreans establish a foundry to cast movable type in bronze. Unlike earlier Chinese experiments with pottery, bronze is sufficiently strong for repeated printing, dismantling and resetting for a new text.


The Koreans at this time are using the Chinese script, so they have the problem of an unwieldy number of characters. They solve this in 1443 by inventing their own national alphabet, known as han'gul. By one of the strange coincidences of history this is precisely the decade in which Gutenberg is experimenting with movable type far away in Europe, which has enjoyed the advantage of an alphabet for more than 2000 years.

continue http://www.historyworld.net/wrldhis/PlainTextHistories.asp?historyid=ab78

วารสารศาสตร์คืออะไร?

วารสารศาสตร์ มาจากคำว่า วารสาร + ศาสตร์

วารสาร = หนังสือที่ออกเป็นคราว ๆ (ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
ศาสตร์ = คิดอย่างมีเหตุผล

วารสารศาสตร์ มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Journalism ตามความหมายในอินเตอร์เนชั่นแนล เอนไซโคลปีเดีย (Internation Encyclopedia) หมายถึง วิชาการที่ว่าด้วยสิ่งพิมพ์ที่เผยแพร่เนื้อหาข่าวสารต่อสาธารณะ

สรุป วารสารศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วนสื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และวารสาร

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552

นิเทศศาสตร์คืออะไร

หลาย ๆ คนคงอยากเลือกเรียนทางสายนิเทศศาสตร์ แต่รู้ไหมค่ะว่าความหมายของนิเทศศาสตร์คืออะไร

นิเทศศาสตร์ คือ การสื่อสารทุกรูปแบบของมนุษย์